การติดตั้งไดร์เวอร์มีกี่วิธี อะไรบ้าง
หลังจากที่เราได้ติดตั้งระบบปฏิบัติการ Windows เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็จะพบว่าอุปกรณ์บางอย่างจะยังไม่สามารถทำงานอย่างเต็มประสิทธิภาพเช่น หน้าจอที่ไม่สามารถปรับความละเอียดให้สูงสุดที่จอรับได้, ไม่มีเสียง, ไม่สามารถเข้าใช้งานอินเตอร์เน็ตได้ หรือสั่งพิมพ์งานไม่ได้ เป็นต้น โดยอาการเหล่านี้เกิดจากการที่เรายังไม่ได้ติดตั้งไดร์เวอร์ให้กับอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ต่างๆ ....
วิธีตรวจเช็คสุขภาพฮาร์ดดิสต์กับฟีเจอร์ S.M.A.R.T.
S.M.A.R.T. หรือที่เรียกกันชื่อเต็มๆว่า Self-Monitoring Analysis and Report Technology เป็นระบบตรวจสอบฮาร์ดดิสต์ด้วยตัวฮาร์ดดิสต์เอง ซึ่งในฮาร์ดดิสต์รุ่นใหม่ๆเกือบทุกตัวที่มีจำหน่ายอยู่ในท้องตลาดจะบรรจุเทคโนโลยีนี้มากับฮาร์ดดิสต์อยู่แล้ว โดยจะมีหลักการทำงานอย่างเช่น เฟิร์มแวร์ที่มีมากับตัวฮาร์ดดิสต์เองจะคอยเก็บข้อมูลต่างๆของตัวฮาร์ดดิสต์
User Account นั้นมีความสำคัญอย่างไร
ประเภทของ User Account ใน Windows XP จะแบ่งออกเป็น Administrator และ Limited ในส่วนของ Windows Vista, Windows 7 จะแบ่งออกเป็น Administrator และ Standard โดยชื่อผู้ดูแลระบบอย่าง Administrator จะมีสิทธิ์ทำงานต่างๆได้ทุกอย่าง แต่ Limited และ Standard จะมีข้อจำกัดให้สามารถใช้งานโปรแกรมทั่วไปได้เท่านั้น จะไม่สามารถติดตั้งหรือแก้ไขส่วนใดๆของระบบได้ โดย ....
หน่วยที่ใช้ในการวัดความจุหรือขนาดของข้อมูล
หน่วยที่ใช้ในการวัดความจุหรือขนาดของข้อมูล หรือที่ใช้เรียกด้วยศัพท์ของคอมพิวเตอร์เช่น บิต (Bit), ไบต์ (Byte), กิโลไบต์ (Kilobyte), เมกกะไบต์ (Megabyte), กิกะไบต์ (Gigabyte), เทอราไบต์ (Terabyte) เป็นต้น มีรายละเอียดดังนี้ ....
ความหมายของ Service Pack คืออะไร
Service Pack คือ เป็นชุดของโปรแกรมปรับปรุงที่รวบรวมการแก้ไขปัญหาในแต่ละรอบของการแก้ไข โดยรวมมาเป็นไฟล์ขนาดใหญ่เพื่อให้สามารถติดตั้งได้เรียบร้อยภายในครั้งเดียวต่างจากการอัพเดตแบบปกติตรงที่ไฟล์ของการอัพเดตจะเกิดขึ้นหลายครั้งตามจำนวนปัญหาที่พบ แต่ Service Pack เป็นการรวมหลายๆการอัพเดตมาเป็น...
ความแตกต่างระหว่างโหมด Sleep, Hybrid Sleep และ Hibernate
โหมดประหยัดพลังงานบนวินโดวส์ 7 อย่างเช่น Sleep, Hybrid Sleep และ Hibernate แตกต่างกันอย่างไร เราสามารถนำไปปรับแต่งให้เหมาะสมกับระบบวินโดวส์ของเราได้อย่างไรบ้าง
Power Management สำคัญอย่างไร
Power Management ซึ่งหมายถึงการจัดระดับการทำงานให้แก่ซีพียู เพื่อที่ซีพียูจะได้ปรับระดับความเร็ว (Core Clock) และระดับการใช้พลังงานให้สัมพันธ์กับระดับของงานที่ซีพียูทำอยู่ ตัวอย่างเช่น เวลาที่มีงาน (Work Load) ไม่มากนัก Power Management จะสั่งให้ซีพียูลดระดับความเร็วให้ต่ำลง แต่ถ้ามีงานเยอะขึ้น Power Management ก็จะสั่งให้ซีพียูทำงานเร็วขึ้น ....
ความแตกต่างระหว่าง x86 และ x64
โครงสร้างทางสถาปัตยกรรมของระบบปฏิบัติการนั้น จะถูกแบ่งออกเป็น 2 โครงสร้างคือ แบบ 32 บิต (x86) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ถูกนำมาใช้งานมากที่สุดในปัจจุบัน (ส่วนใหญ่จะเป็นคอมพิวเตอร์สำหรับผู้ใช้งานทั่วไป) และแบบ 64 บิต (x64) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่นิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่เป็นหลัก ....
วิธีการสังเกตและบรรเทาการเกิด Bad Sector
การสังเกต Bad Sector ปกติผู้ใช้นิยมสังเกตจากเสียงของหัวอ่านขณะฮาร์ดดิสต์กำลังทำงาน โดยเมื่อหัวอ่านเคลื่อนที่ไปอ่านตรงตำแหน่งที่มี Bad Sector จะเกิดการอ่านซ้ำจนมีเสียงดังกึกกักมากกว่าปกติ แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่าจะต้องเป็น Bad Sector ที่เกิดขึ้นจริงเสมอไป หนทางหนึ่งที่จะช่วยได้คือ การสั่งสแกนดิสต์อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งจะช่วยในการตรวจสอบปัญหาที่อาจเกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสต์สุดรักของเราได้ครับ
L3 Cache มีผลกับประสิทธิภาพของระบบมากแค่ไหน?
L3 Cache มีไว้เพื่อเป็นที่พักข้อมูลระหว่างคอร์แต่ละคอร์ก่อนที่จะถูกส่งต่อไปยังที่อื่นๆ (เช่น แรมหรือชิพเซ็ต) จำเป็นมากสำหรับการทำงานของซีพียูที่มี 4 คอร์ขึ้นไป สังเกตได้จากซีพียู AMD Phenom I และ II ทุกรุ่น และ Intel Core i7 ซึ่งถ้าหากไม่มีแคช L3 จะทำให้การส่งข้อมูลในแต่ละคอร์ล่าช้าและติดขัด เพราะคอร์แต่ละคอร์อาจมีบางครั้งที่ประมวลผลเสร็จช้าเร็วไม่เท่ากัน และ แคช L3 มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่ประมวลผลเสร็จแล้วทุกส่วนโดยสมบูรณ์ก่อนส่งต่อไปที่อื่นครับ